2024
ซีอีโอชั้นนำรับมือกับความผันผวนทั่วโลกด้วยการทุ่มเทให้กับ AI และบุคลากร
ในโลกธุรกิจที่เต็มไปด้วยความผันผวน ผู้นำองค์กรต้องเผชิญกับความเสี่ยงต่างๆ ทั้งจากภูมิรัฐศาสตร์ การชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน ไปจนถึงความปลอดภัยทางไซเบอร์ ภาวะเงินเฟ้อ และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ในบทความนี้
คุณเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เคพีเอ็มจี ประเทศไทย เมียนมา และลาว ได้หยิบยกข้อมูลและประเด็นสำคัญจากผลสำรวจ KPMG CEO Outlook ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดของซีอีโอจากบริษัทชั้นนำทั่วโลกที่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์โลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อความก้าวหน้าของธุรกิจในอีกสามปีข้างหน้า เพื่อให้ทุกท่านได้เตรียมพร้อมรับมือกับความท้าทายและตัวแปรต่างๆ ในโลกธุรกิจแห่งอนาคต
วันที่: 25 ธันวาคม 2567
บทความโดย: คุณเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Consulting
ความปลอดภัยทางไซเบอร์ของอุตสาหกรรมยานยนต์
รายงาน KPMG Cybersecure vehicles สรุปประเด็นความท้าทายของการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และแนวทางการจัดการเพื่อป้องกันความเสี่ยงทางไซเบอร์
วันที่: 1 พฤศจิกายน 2567
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: SMI : Small & Medium Industrial Institute
บริการทีเกี่ยวข้อง: Automotive, Cyber Security
อนาคตกฎหมาย ESG ที่ธุรกิจไทยต้องเตรียมพร้อม
ในบทความนี้ คุณตรีนุช บุญเรืองถาวร กรรมการบริหาร ที่ปรึกษากฎหมาย เคพีเอ็มจี ประเทศไทย ยกตัวอย่างกฎหมายในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ ESG (สิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล) เพื่อให้เห็นแนวทางของประเทศไทยในการพัฒนากฎหมายด้าน ESG ในอนาคตที่ธุรกิจควรทราบ เพื่อที่จะเตรียมความพร้อมในการยกระดับมาตรฐานการประกอบกิจการ
วันที่: 16 ตุลาคม 2567
บทความโดย: คุณตรีนุช บุญเรืองถาวร
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law, Climate Change and Sustainability Services
Telco to Techco - เปลี่ยนสู่ธุรกิจโทรคมนาคมแห่งอนาคต
เคพีเอ็มจีออกรายงาน From Telco to Techco โดยอธิบายแนวคิด ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และคำแนะนำเพื่อเปลี่ยนผ่านองค์กรจากบริษัทโทรคมนาคมแบบดั้งเดิม (Telco) ไปสู่บริษัทเทคโนโลยี (Techco)
วันที่: 6 สิงหาคม 2567
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: SMI : Small & Medium Industrial Institute
บริการทีเกี่ยวข้อง: Telecommunication, Technology
Digitalization - ESG - Portfolio Reshaping สิ่งที่ซีอีโอในภาคอุตสาหกรรมการผลิตทั่วโลกให้ความสำคัญ
เคพีเอ็มจีเผยผลสำรวจซีอีโอในภาคอุตสาหกรรมการผลิตทั่วโลก ชี้ให้เห็นถึง 3 ปัจจัยหลักที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้ความสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายการเติบโตของธุรกิจ
วันที่: 8 พฤษภาคม 2567
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: SMI : Small & Medium Industrial Institute
บริการทีเกี่ยวข้อง: Industrial Manufacturing
ความเชื่อมั่นในธุรกิจยานยนต์ทั่วโลกลดลง จากการเติบโตที่ชะลอตัวและต้นทุนที่สูงขึ้น
เคพีเอ็มจีเผยผลสำรวจความเชื่อมั่นของธุรกิจยานยนต์ทั่วโลก มุมมองผู้บริหารต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ยานยนต์ไฟฟ้า ประสบการณ์ของลูกค้า และความท้าทายด้านเทคโนโลยีมีความซับซ้อนมากขึ้น
วันที่: 2 เมษายน 2567
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: SMI : Small & Medium Industrial Institute
บริการทีเกี่ยวข้อง: Automotive
โอกาสและความท้าทายของการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ
เคพีเอ็มจีสรุปประเด็นสำคัญของโอกาสและความท้าทายในการนำบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ
วันที่: 9 กุมภาพันธ์ 2567
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: Live Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Banking and Capital Markets
โอกาสและความท้าทายของการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ
ปัจจุบันการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในต่างประเทศอาจไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป บริษัทไทยจำนวนไม่น้อยเริ่มมีการกำหนดแผนกลยุทธ์ระยะยาวที่จะนำบริษัทเข้าไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ โดยสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น การจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หลัก (Primary Listing) การจดทะเบียนควบ (Dual Listing) หรือการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์รอง (Secondary Listing) โดยตลาดหลักทรัพย์ที่บริษัทไทยให้ความสนใจ ได้แก่ ตลาด Nasdaq และ ตลาด NYSE ในสหรัฐอเมริกา ตลาด SGX ในสิงคโปร์ และตลาด HKEX ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นต้น
บทความนี้จะให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ทั้งโอกาสและความท้าทายของการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ เพื่อให้บริษัทที่สนใจสามารถนำข้อมูลทั้ง 2 ด้านมาประกอบการพิจารณา เพื่อเตรียมความพร้อมและตัดสินใจในการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ
วันที่: 26 มกราคม 2567
บทความโดย: คุณก้องเกียรติ จตุพรภักดี
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Banking and Capital Markets
Connect with us
- Find office locations kpmg.findOfficeLocations
- kpmg.emailUs
- Social media @ KPMG kpmg.socialMedia
2023
DEI กุญแจแห่งความสำเร็จขององค์กรยุคใหม่
DEI ไม่ได้เป็นแค่เทรนด์ธุรกิจที่ผ่านมาแล้วผ่านไป แต่ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่สร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร ดังนั้นผู้เขียนจึงเชื่อว่า องค์กรที่สามารถสร้างวัฒนธรรมในการยอมรับความหลากหลายของคนในองค์กรโดยมีการปฏิบัติต่อทุกคนอย่างเท่าเทียม และสร้างบรรยากาศในการทำงานที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพนักงาน จะเป็นองค์กรหนึ่งที่มีข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ในการดึงดูดบุคลากรที่มีศักยภาพให้เข้ามาร่วมงานกับองค์กร และรักษาบุคลากรให้อยู่กับองค์กรได้อย่างยาวนาน
วันที่: 29 ธันวาคม 2566
บทความโดย: มัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Careers
จัดทำธรรมนูญครอบครัวอย่างไรให้ใช้ได้จริง?
การเริ่มทำธุรกิจอาจไม่ใช่เรื่องยาก แต่การจะทำให้ธุรกิจครอบครัวเติบโตและยั่งยืนอยู่ได้เกินสามรุ่นก็ไม่ใช่เรื่องง่าย หนึ่งในเครื่องมือที่สำคัญคือ “ธรรมนูญครอบครัว” เพราะเป็นเอกสารที่จะช่วยจัดการกับความขัดแย้งภายในครอบครัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยสมาชิกในครอบครัวควรร่วมกันจัดทำธรรมนูญครอบครัวเพื่อให้สามารถใช้ เป็นกฎ กติกา ที่เป็นที่ยอมรับและสามารถใช้ปฏิบัติต่อสมาชิกครอบครัวได้จริง
วันที่: 15 ธันวาคม 2566
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
สามกลุ่มธุรกิจไทยฟื้นตัวทางการเงินสูงสุดหลัง COVID-19
เคพีเอ็มจีนำเสนอเครื่องมือชี้วัดที่ใช้ในการวัดสถานะทางการเงินของบริษัท หรือ KPMG Financial Performance Index (FPI) และสรุปภาพรวมการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย และภาคอุตสาหกรรมที่โดดเด่นหลังการระบาดของ COVID-19
วันที่: 15 พฤศจิกายน 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Industrial Markets, Deal Advisory, Restructuring Services
สร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) หัวใจสำคัญสู่ดีลสำเร็จ
ภาวะเศรษฐกิจถดถอย หรือ Recession ถือว่าเป็นความเสี่ยงใหม่ของทุกธุรกิจ อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าผู้ประกอบการทุกท่านคงไม่ต้องการหยุดยั้งความเติบโตทางธุรกิจ และแนวทางหนึ่งที่จะสร้างความเติบโตทางธุรกิจของท่านได้อย่างต่อเนื่องคือ การลงทุนในธุรกิจที่อยู่ในธุรกิจเดิมเพื่อเสริมส่วนแบ่งการตลาด หรือลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ ซึ่งจะช่วยกระจายความเสี่ยงได้ ดังนั้นการลงทุนหรือซื้อขายธุรกิจในยุคที่เศรษฐกิจต้องเผชิญผลกระทบหลายอย่าง การทำความเข้าใจตลาด การหาโอกาส และการเพิ่มมูลค่า (Upside Opportunities) ของบริษัทที่ผู้ซื้อกำลังเข้าไปซื้อ จึงเป็นเรื่องที่ผู้ซื้อควรให้ความสำคัญ
วันที่: 2 พฤศจิกายน 2566
บทความโดย: ทรงพล เกียรติเลิศพงศา
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Value creation
เคพีเอ็มจีเล็งเห็นสัญญาณการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยต่างๆ ของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่กำลังเผชิญกับความท้าทายจากหลากหลายด้าน ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนการปรับตัวเข้าสู่อุตสาหกรรมอัจฉริยะ โดยปรับกลยุทธ์จากการมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ไปสู่การมุ่งเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง
วันที่: 18 ตุลาคม 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Industrial Markets
การปกป้องทรัพย์สินของครอบครัวที่มีมูลค่าสูง
เป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจุบันครอบครัวทั่วโลกมีการเปลี่ยนผ่านมามากกว่า 1 รุ่น หลายครอบครัวเปลี่ยนผ่านมาถึง 3-4 รุ่น ทรัพย์สินที่ครอบครัวสะสมมาก็เพิ่มจำนวนและมูลค่าเช่นกัน นอกจากนี้ ประเภทของทรัพย์สินก็มีความหลากหลายและเป็นที่น่าสนใจ ทั้งนี้ การดูแลรักษาทั้งในด้านสภาพและมูลค่าเป็นเรื่องที่สำคัญ เพื่อให้มั่นใจว่าทรัพย์สินเหล่านี้จะถูกส่งต่อ ให้สมาชิกครอบครัวรุ่นถัดไปได้อย่างเหมาะสมและคงมูลค่าหรือสามารถเพิ่มมูลค่าได้
วันที่: 1 กันยายน 2566
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
เร่งยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตไทย ให้ก้าวไกลอย่างยั่งยืน
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และความไม่แน่นอนในสถานการณ์ปัจจุบัน อุตสาหกรรมการผลิตต้องเผชิญกับความท้าทายในหลากหลายมิติ ดังนั้น การนำองค์กรสู่การเติบโตภายใต้สถานการณ์ที่มีความท้าทายอยู่รอบด้าน จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการในหลายด้านควบคู่กันไป แนวทาง ‘SUPER’ คืออีกหนึ่งแนวทางที่องค์กรสามารถนำไปปรับใช้ เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้ธุรกิจก้าวได้ไกล ว่องไว แบบไม่สะดุด
วันที่: 30 สิงหาคม 2566
บทความโดย: ธิดารัตน์ ฉิมหลวง
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Industrial Markets
BEPS 2.0 ผลกระทบและความท้าทายจากการปฏิรูปการจัดเก็บภาษีทั่วโลก และมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่จาก BOI
เคพีเอ็มจีได้สรุปแนวทางการปฏิรูปการจัดเก็บภาษีทั่วโลกตามกฎเกณฑ์ภายใต้ BEPS 2.0 และมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่เพื่อบรรเทาผลกระทบจากแนวทางการจัดเก็บภาษีสำหรับเสาหลักที่สอง
วันที่: 27 สิงหาคม 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: ฺBEPS 2.0
ภาพรวมการบริหารธุรกิจครอบครัว ด้วยการวางแผนทางกฎหมาย
การจัดการธุรกิจครอบครัวที่มีประสิทธิภาพเกี่ยวข้องกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ทางกฎหมายเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น ปกป้องทรัพย์สิน และส่งเสริมความปรองดองในครอบครัว
วันที่: 17 สิงหาคม 2566
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
การบริหารธุรกิจครอบครัว ด้วยการวางแผนทางกฎหมาย : ข้อบังคับของบริษัทครอบครัว
ทำความเข้าใจถึงความสำคัญของ “ข้อบังคับของบริษัทครอบครัว” เพื่อช่วยให้ธุรกิจครอบครัว รักษาความสามัคคี การรับรองความยุติธรรม การทำให้ธุรกิจเป็นมืออาชีพ และอำนวยความสะดวกในการวางแผนสืบทอดตำแหน่ง
วันที่: 17 สิงหาคม 2566
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
การบริหารธุรกิจครอบครัว ด้วยการวางแผนทางกฎหมาย : สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น
ทำความเข้าใจถึงความสำคัญของ “สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น” เพื่อช่วยให้ธุรกิจครอบครัว สร้างรากฐานที่มั่นคง รักษาความไว้วางใจและการทำงานร่วมกัน และสร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์
วันที่: 17 สิงหาคม 2566
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
การบริหารธุรกิจครอบครัว ด้วยการวางแผนทางกฎหมาย : พินัยกรรม
“พินัยกรรม 6 รูปแบบ” เพื่อช่วยให้ธุรกิจครอบครัว สามารถแต่งตั้งผู้สืบทอดหรือกำหนดบุคคลสำคัญที่จะรับช่วงต่อการจัดการและการเป็นเจ้าของ ของธุรกิจครอบครัว สิ่งนี้ช่วยให้มั่นใจได้ถึงความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงผู้นำที่ราบรื่น
วันที่: 17 สิงหาคม 2566
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
การบริหารธุรกิจครอบครัว ด้วยการวางแผนทางกฎหมาย : ธรรมนูญครอบครัว
“ธรรมนูญครอบครัว” เครื่องมือสำคัญในการสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งให้กับธุรกิจครอบครัว เสริมสร้างความผูกพันและการแก้ไขความขัดแย้ง และรักษาความสามัคคีในครอบครัวผ่านรุ่นสู่รุ่น
วันที่: 17 สิงหาคม 2566
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
ขับเคลื่อนความสำเร็จของธุรกิจค้าปลีกและสินค้าอุปโภคบริโภคด้วย Generative AI
Generative AI เป็นเทคโนโลยีที่กำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานของธุรกิจค้าปลีกและสินค้าอุปโภคบริโภค โดยรวมแล้วการนำ Generative AI มาใช้ในธุรกิจ สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการติดต่อและบริการลูกค้าได้ ทำให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์แบบเฉพาะบุคคล ซึ่งจะนำไปสู่ความภักดีของลูกค้าและความสำเร็จของธุรกิจ
วันที่: 6 สิงหาคม 2566
บทความโดย: ช่อทิพย์ วรุตบางกูร
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Consumer & Retail
มาตรา 23/1 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2566 กับทางเลือกในการ Work from Home
มาตรา 23/1 ไม่ได้กำหนดบังคับไว้ เพียงแต่ยกตัวอย่างไว้ว่าข้อตกลงอาจระบุเกี่ยวกับช่วงระยะเวลาเริ่มงานและเลิกงาน วันและเวลาทำงาน เวลาพัก หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด ขอบเขตหน้าที่ภาระงาน ภาระการจัดหาเครื่องมือหรืออุปกรณ์การทำงาน เป็นต้น เพราะฉะนั้นหัวใจหลักของการ Work from Home จึงเป็นเรื่องของความยินยอมของทั้งสองฝ่ายระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง และรายละเอียดของการ Work from Home จะเป็นอย่างไรก็เป็นไปตามที่ทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน
วันที่: 18 กรกฎาคม 2566
บทความโดย: กรรณิกา บุญเทียม
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law
แนวทางการสร้างมูลค่าธุรกิจ SME ด้วยการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน
เคพีเอ็มจีแนะแนวทางพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืนโดยสร้างคุณค่าด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (ESG) สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) รวมถึงเทรนด์ ESG ในปัจจุบัน
วันที่: 23 มิถุนายน 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Climate Change and Sustainability Services
มองมุมใหม่ ‘เลือก Digital Solution ที่ใช่’ ให้ธุรกิจ
บริษัทต้องกำหนด Goal ให้ชัดเจนว่า Digital Solution นั้นจะเข้ามาสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเป็นสำคัญ และต้องกำหนดแนวทางการวัดผลในระยะยาวเพื่อสร้าง Continuous Improvement แบบยั่งยืน โดย Goal ที่ดีคือต้องสร้าง Great Outcome And Leadership
วันที่: 26 พฤษภาคม 2566
บทความโดย: สรญา เชาวนสุนทรพงษ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Digital Transformation
เคพีเอ็มจีเผยข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม โมเดลธุรกิจ และขั้นตอนที่ช่วยผู้บริหารตอบโจทย์ธุรกิจในอนาคต
วันที่: 11 พฤษภาคม 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Telecomunication
ธุรกิจครอบครัว: ดีต่อธุรกิจ ดีต่อโลก ตอนที่ 2
แนวคิดและการวางแผนในเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาธุรกิจไปสู่ความยั่งยืน เป็นแนวโน้มที่ผู้นำธุรกิจครอบครัวต้องให้ความสำคัญ อย่างไรก็ตามไม่มีกลยุทธ์หรือวิธีการใดที่เหมาะสมกับทุกธุรกิจครอบครัว แต่ละครอบครัวต้องพิจารณาเลือกใช้กลยุทธ์หรือวิธีการที่เหมาะกับธุรกิจครอบครัวของตน ซึ่งอาจจำเป็นต้องผสมผสานหลายกลยุทธ์หรือหลายวิธีเข้าด้วยกันก็เป็นได้
วันที่: 22 พฤษภาคม 2566
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
ธุรกิจครอบครัว: ดีต่อธุรกิจ ดีต่อโลก ตอนที่ 1
ความรับผิดชอบต่อสังคมไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับธุรกิจครอบครัว อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน ความเสี่ยงด้านสภาพอากาศ ความยากจน และความไม่แน่นอนในหลายส่วนของโลกมีความสำคัญมากขึ้น บรรดาผู้นำของโลกต่างหันมาให้ความสนใจกับเป้าหมาย “คน โลก และกำไร” เพื่อสร้างคุณค่าให้กับสิ่งแวดล้อม สร้างงาน มีส่วนร่วมในความเจริญรุ่งเรืองของชุมชน และส่งมอบคุณค่าระยะยาวให้กับครอบครัวและธุรกิจ
วันที่: 22 พฤษภาคม 2566
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
ปลดล็อกโอกาสทางธุรกิจ ด้วยกลยุทธ์การสร้างรายได้จากข้อมูล (Data Monetization)
องค์กรที่ต้องการสร้างโอกาสทางธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืนจำเป็นต้องพัฒนากลยุทธ์การสร้างรายได้จากข้อมูล (Data Monetization) หรือกระบวนการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของข้อมูล ซึ่งมีความสำคัญและกำลังเติบโตในทุกธุรกิจ โดยการประเมินข้อมูลที่มีอยู่และคุณค่าที่ข้อมูลนั้นสามารถสร้างขึ้นใหม่ รวมถึงรูปแบบธุรกิจสมัยใหม่ที่ส่งเสริมโอกาสในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างคุณค่าใหม่ๆ ให้กับลูกค้า นำไปสู่เป้าหมายการเติบโตและสร้างแหล่งรายได้ระยะยาวด้วยกลยุทธ์ที่เหมาะสม
วันที่: 2 พฤษภาคม 2566
บทความโดย: อิทธิพัทธ์ ลิมป์มณีรักษ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Data & Analytics
โลกปรับ เกมเปลี่ยน องค์กรต้องเตรียมรับมือกับ ‘โอกาส’ และ ‘ความเสี่ยง’ ใหม่ ที่กำลังจะมาถึงอย่างไร?
เมื่อโลกปรับและเปลี่ยนไว การเตรียมองค์กรหรือธุรกิจให้พร้อมรับมือกับความเสี่ยงในหลากหลายมิติคือสิ่งจำเป็น โดยเฉพาะการบริหารความเสี่ยงจากบุคคลภายนอก ที่ปัจจุบันมีความสลับซับซ้อน และอาจนำมาซึ่งความผิดพลาด สร้างความเสียหายให้กับธุรกิจได้
วันที่: 20 เมษายน 2566
บทความโดย: กรุงเทพธุรกิจ
ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ
บริการที่เกี่ยวข้อง: KPMG's Powered Risk
การให้บริการ Data Center ในประเทศไทย
ความต้องการในตลาด Data centers ของไทยเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง เคพีเอ็มจี ได้สรุปประเภทของ Data centers ประโยชน์ของการใช้งาน การเตรียมความพร้อม และการเข้าเป็นผู้เล่นในตลาด Data centers
วันที่: 3 เมษายน 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Deal Advisory, Integrated Due Diligence
เตรียมความพร้อมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืน เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ
ในปัจจุบัน ธุรกิจต่างๆ กำลังเผชิญกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมในหลากหลายมิติ ทำให้มีความจำเป็นในการให้ความสำคัญกับเรื่องของความยั่งยืนมากขึ้น โดยผลสำรวจการจัดทำรายงานด้านความยั่งยืน ปี 2565 ของ KPMG พบว่า 64% ของผู้นำธุรกิจชั้นนำระดับโลกตระหนักถึงความเสี่ยงทางธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ 62% ของซีอีโอ วางแผนลงทุนในการพัฒนาบริษัทสู่ความยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับแนวคิดสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล หรือ Environment, Social, and Governance (ESG)
วันที่: 31 มีนาคม 2566
บทความโดย: ณัฐพงศ์ ตันติจัตตานนท์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Climate Change and Sustainability Services
ธุรกิจครอบครัว: เส้นทางสู่ประสิทธิภาพสูงสุด
การวัดประสิทธิภาพทางธุรกิจในเชิงปริมาณอาจเป็นเรื่องที่ท้าทายในทุกบริษัท แต่การวัดประสิทธิภาพของธุรกิจครอบครัวนั้นซับซ้อนยิ่งกว่า การรักษาวิสัยทัศน์ของผู้ก่อตั้ง วัฒนธรรมของการเป็นผู้ประกอบการ และชื่อเสียงในฐานะเจ้าของธุรกิจที่มีความรับผิดชอบ ก็มีส่วนสำคัญไม่แพ้กัน สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเฉพาะและมีความสำคัญในการวัดประสิทธิภาพของธุรกิจครอบครัวและเพื่อความยั่งยืนของธุรกิจ
วันที่: 30 มีนาคม 2566
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
ธุรกิจครอบครัว: ที่นั่งใหม่บนโต๊ะธุรกิจครอบครัว
เมื่อโลกได้เปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในทุกมิติ ทั้งในด้านการดำเนินชีวิตและการดำเนินธุรกิจ รูปแบบการทำงานในอนาคต ได้ถูกหยิบมาเป็นรูปแบบการทำงานปัจจุบัน ท่ามกลางภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เทคโนโลยีต่างๆ เช่น Quantum Computing, AI, Machine learning และบล็อกเชน เป็นต้น กำลังเปลี่ยนผู้ใช้งานใหม่ ให้ใช้งานได้อย่างคล่องแคล่วและเพิ่มการเข้าถึงได้มากขึ้นสำหรับธุรกิจทุกประเภทรวมถึงธุรกิจครอบครัว
วันที่: 21 กุมภาพันธ์ 2566
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
จับตา ‘นวัตกรรม’ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ธนาคารพาณิชย์ควรปรับตัวเองโดยการทำ Digital Transformation ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเปลี่ยนแปลงกระบวนการ และลักษณะการบริการทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการหลังบ้าน การปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าหน้าบ้าน หรือการสร้างกระบวนการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งหมดนี้เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับลูกค้า
วันที่: 18 กุมภาพันธ์ 2566
บทความโดย: ฐิติมา พงศ์ไชยยง
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Banking
พลังงานหมุนเวียน - ปัจจัยสำคัญในการลดคาร์บอน (Decarbonization through renewable energy)
เคพีเอ็มจี เปิดตัวรายงานหัวข้อ การลดคาร์บอนด้วยพลังงานหมุนเวียน ให้ข้อมูลภาพรวม แนวโน้มสำคัญ โอกาสและอุปสรรคของตลาดพลังงานหมุนเวียนในเอเชียแปซิฟิก และข้อตกลงการซื้อขายพลังงานไฟฟ้าสำหรับองค์กร
วันที่: 1 กุมภาพันธ์ 2566
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Climate Change and Sustainability Services
ธุรกิจครอบครัว: รูปแบบความเป็นผู้นำและผลกระทบต่อประสิทธิภาพ
รูปแบบความเป็นผู้นำของธุรกิจครอบครัวอาจเป็นปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานและผลการบริหารธุรกิจครอบครัว แต่การเป็นผู้นำธุรกิจครอบครัวไม่ได้มีเพียงรูปแบบเดียว รูปแบบความเป็นผู้นำจะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ อายุ และระยะของธุรกิจหรือ stage ของธุรกิจ ตลอดจนสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมและลักษณะธุรกิจที่ดำเนินการอยู่
วันที่: 10 มกราคม 2566
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: SET’s LiVE Platform
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
การเปลี่ยนแปลงองค์กรเพื่อรองรับพันธมิตรทางธุรกิจ พลิก ‘วิกฤต’ ให้เป็น ‘โอกาส’?
เนื่องจากเวลาเป็นสิ่งที่มีค่าอย่างยิ่งในช่วงสภาวการณ์ที่มีความไม่แน่นอนสูง การลองผิดลองถูกจึงเป็นเรื่องที่ไม่อาจเป็นไปได้ เพื่อให้องค์กรสามารถหาวิธีแก้ปัญหาที่ช่วยเพิ่มโอกาสให้เป้าหมายสำเร็จลุล่วง องค์กรควรปรับตัวโดยนำธุรกิจนำหน้า
วันที่: 7 มกราคม 2566
บทความโดย: Florian Magin และ วัฒนรณ วิทยประภากุล
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Risk consulting
2022
การขยายตัวของระบบอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรม นำไปสู่การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Expanded Automation)
KPMG ได้สรุปประเด็นสำคัญในขั้นตอนการขยายตัวของระบบอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรม และความสำคัญของการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์
วันที่: 8 ธันวาคม 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Technology, Cyber Security
ปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริษัท เพื่อจัดการภาษีอย่างมีประสิทธิภาพ
การวางแผนปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริษัทเป็นแนวทางหนึ่งที่สำคัญในการเตรียมความพร้อมขององค์กร เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น.
วันที่: 18 ตุลาคม 2565
บทความโดย: ฐนิตา ภูบดีพงศ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Deal advisory, Restructuring
ข้อสรุปสำคัญในประกาศกฎหมายย่อยของ PDPA (Focused PDPA new sub-regulations)
KPMG ได้สรุปข้อสำคัญในประกาศกฎหมายย่อยของ PDPA เพื่อเป็นแนวทางสำหรับธุรกิจและผู้ประกอบในการปฏิบัติตามข้อกฏหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
วันที่: 24 ตุลาคม 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law
รถยนต์ไฟฟ้าเจาะมาตรการสนับสนุน EV ทางเลือกใหม่สำหรับอนาคต
วิกฤตภาวะโลกร้อน มลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่น PM2.5 และราคาน้ำมันที่พุ่งสูงขึ้น ล้วนเป็นปัจจัยเร่งให้รัฐบาลกำหนดนโยบายผลักดันให้อุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าเกิดขึ้นในประเทศไทย หน่วยงานรัฐบาลต่างๆ ภายใต้มติคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมการขนส่งทางบก ฯลฯ ได้มีการปรับปรุงระเบียบเพื่อรองรับและส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า (EV)
วันที่: 9 กันยายน 2565
บทความโดย: มัลลิกา ภูมิวาร
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Trade & Customs Services, Automotive
KPMG และ HSBC เผยรายงานการสำรวจธุรกิจสตาร์ทอัพที่เน้นการใช้เทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค พบว่า การปฏิวัติดิจิทัลเป็นแรงขับเคลื่อนการเจริญเติบโตและสร้างรายได้ของสตาร์ทอัพ
วันที่: 17 สิงหาคม 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Technology
ข้อพิจารณาทางกฎหมายที่สำคัญสำหรับการควบรวมกิจการ
ในปัจจุบันการควบรวมกิจการ หรือ Mergers & Acquisitions (M&A) มีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นทุกปี และคาดว่าจะยังคงมีธุรกรรมควบรวมกิจการอย่างต่อเนื่องและหลากหลายในทุกภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในการดำเนินการควบรวมกิจการนั้น นอกจากจะต้องพิจารณาในด้านธุรกิจ ทางการเงิน และทางภาษีแล้ว ข้อพิจารณาทางด้านกฎหมายก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน ในประเทศไทย
วันที่: 4 สิงหาคม 2565
บทความโดย: บุญญาพร ดอนนาปี
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law, Integrated Due Diligence
รายงานเกี่ยวกับธุรกิจครอบครัวทั่วโลกของ KPMG Private Enterprise และ STEP Project Global Consortium เผยผลสำรวจว่า ผู้นำรุ่นถัดไปที่มีโอกาสได้สะสมประสบการณ์นอกธุรกิจครอบครัวก่อน จะส่งผลในเชิงบวกต่อผลประกอบการในระยะยาว รวมถึงสรุปปัจจัยสำคัญที่ทำให้ธุรกิจครอบครัวมีความสามารถในการฟื้นฟูธุรกิจได้เสมอ
วันที่: 6 กรกฎาคม 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
หัวใจสำคัญของการควบรวมกิจการ: การตรวจสอบสถานะของกิจการด้านกฎหมาย (M&A - Legal Due Diligence)
เคพีเอ็มจีเน้นย้ำถึงความสำคัญของการตรวจสอบสถานะของกิจการด้านกฎหมาย (Legal due diligence) ซึ่งเป็นวิธีที่ทำให้สามารถประเมินความเสี่ยงในการลงทุน กำหนดราคาสำหรับการซื้อขายกิจการ วางโครงสร้างการควบรวมกิจการ และกำหนดเงื่อนไขในสัญญาซื้อขายได้
วันที่: 1 มิถุนายน 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law, Integrated Due Diligence
3 หลักสำคัญ ธุรกิจเตรียมพร้อม PDPA
ปัจจุบัน เป็นยุคที่ ‘ข้อมูลส่วนบุคคล’ เป็นสิ่งที่มีมูลค่าและมีความสำคัญต่อธุรกิจ ซึ่งความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทำได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว ในขณะเดียวกันก็อาจส่งผลให้เกิดการล่วงละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว และก่อความเสียหายที่รุนแรงและเป็นวงกว้างได้อย่างง่ายดายเช่นเดียวกัน
วันที่: 31 พฤษภาคม 2565
บทความโดย: ภัทรพร กายบริบูรณ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law
5 เคล็ดลับ M&A รู้ทันผู้ขายกิจการยุคโควิด
การแพร่ระบาดของโควิดทำให้เศรษฐกิจทั่วโลกต้องหยุดชะงัก ความพยายามอย่างต่อเนื่องในการต่อสู้กับการระบาดในหลายระลอกที่ผ่านมา ได้ส่งผลกระทบเชิงลบต่อการดำเนินธุรกิจในหลายๆ อุตสาหกรรม ทำให้รายได้และกระแสเงินสดของหลายองค์กรลดลงเป็นอย่างมาก
วันที่: 28 เมษายน 2565
บทความโดย: ทรงพล เกียรติเลิศพงศา
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Deal advisory
เคพีเอ็มจี ได้สรุปข้อมูลมาตรการลดหย่อนภาษี 2 มาตรการเพื่อบรรเทาภาระภาษีในการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลและส่งเสริมการลงทุนในสตาร์ทอัพไทย
วันที่: 12 เมษายน 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Tax
เตรียมความพร้อมสำหรับ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)
เคพีเอ็มจี ได้รวบรวมและสรุปการเตรียมความพร้อมสำหรับ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงข้อควรพิจารณาสำหรับผู้ประกอบการเพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามข้อกำหนดของ PDPA อย่างถูกต้อง
วันที่: 4 มีนาคม 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law
การวางแผนองค์กรเพื่อมุ่งสู่ Net Zero กับ 8 ขั้นตอนใช้ได้จริง
เคพีเอ็มจีได้เสนอแผน 8 ขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพและใช้ได้จริง เพื่อช่วยให้ธุรกิจมุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน
วันที่: 15 กุมภาพันธ์ 2565
บทความโดย: ธเนศ เกษมศานติ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Infrastructure, Climate Change and Sustainability Services
สิ่งที่พิจารณากฎหมายการกำหนดราคาโอนในประเทศไทย (Tax - Transfer Pricing Law)
เคพีเอ็มจี ได้รวบรวมและสรุปสิ่งที่ต้องพิจารณาจากกฎหมายการกำหนดราคาโอนของธุรกิจและผู้ประกอบการในประเทศไทยไว้ดังนี้
วันที่: 10 กุมภาพันธ์ 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Tax, Global Transfer Pricing Services
การปรับโครงสร้างกิจการเพื่อเตรียมความพร้อมหลังหมดยุคโควิด
เราอยู่ร่วมกับวิกฤตโควิดมา 2 ปี และปัจจุบันกำลังจะเข้าปีที่ 3 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของโควิดเป็นปัจจัยให้การปรับโครงสร้างกิจการเป็นประเด็นที่หลายบริษัทได้คำนึงถึง เพราะหลังผ่านพ้นวิกฤตนี้ไปแล้ว การเตรียมพร้อมโครงสร้างบริษัทเพื่อรอวันที่เศรษฐกิจกลับมาแข็งแรงย่อมส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อผลการดำเนินงานของบริษัท
วันที่: 28 มกราคม 2565
บทความโดย: กรรณิกา บุญเทียม
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: KPMG Law
ข้อได้เปรียบของประเทศไทยในการก้าวสู่ศูนย์กลางการผลิต (The Thailand Advantage)
เคพีเอ็มจี ได้ศึกษาความสามารถในการแข่งขันด้านซัพพลายเชนของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ขณะที่การเปลี่ยนแปลงด้านการค้าโลกและการระบาดของโควิด-19 ยังคงดำเนินอยู่ ภูมิภาคเอเชียคือทางเลือกสำหรับบริษัทต่างชาติที่ต้องการย้ายฐานการผลิต
วันที่: 25 มกราคม 2565
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Industrial Manufacturing, Consumer & Retail, Automotive
2021
BEPS 2.0 ผลกระทบและความท้าทายจากการปฏิรูปการจัดเก็บภาษีทั่วโลก
OECD เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการศึกษาหนทางผสานความร่วมมือระหว่างประเทศในการจัดเก็บภาษีอย่างเป็นระบบภายใต้กรอบแนวทางที่เรียกว่า BEPS 2.0 เพื่อพิชิตความท้าทายด้านการจัดเก็บภาษีในโลกยุคดิจิทัลและข้อจำกัดในการจัดเก็บภาษีภายใต้กฎหมายของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
วันที่: 3 ธันวาคม 2564
บทความโดย: อภิสิทธิ์ ปิ่นมณีกุล
ที่มา: The Standard Wealth
บริการที่เกี่ยวข้อง: Tax, International Tax
การเตรียมความพร้อมในการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (IPO Readiness)
การเตรียมความพร้อมในการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เป็นเหตุการณ์สำคัญทางธุรกิจ เคพีเอ็มจีได้สรุปความท้าทายและกระบวนการไว้ดังต่อไปนี้
วันที่: 25 พฤศจิกายน 2564
บทความโดย: FTIxKPMG
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI)
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
SPAC ทางเลือกใหม่การระดมทุนที่กำลังมาแรง
SPAC ถือเป็นเครื่องมือการระดมทุนใหม่ที่กำลังมาแรงในอเมริกา และเริ่มได้รับความนิยมในประเทศอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะเป็นโอกาสของผู้ประกอบการในการระดมทุนแล้ว ยังเป็นโอกาสของนักลงทุนด้วย บทความนี้จะชวนทำความรู้จักกับ SPAC ในมุมที่ลึกยิ่งขึ้น
วันที่: 17 กันยายน 2564
บทความโดย: ก้องเกียรติ จตุพรภักดี
ที่มา: The Standard Wealth
บริการที่เกี่ยวข้อง: Banking and Capital Markets
กลยุทธ์จัดการ Supply Chain ให้องค์กรก้าวกระโดดแบบไม่สะดุดในโลกยุคใหม่
ผลสำรวจ 2021 KPMG CEO Outlook Pulse Survey ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม 2021 พบว่า ผู้บริหารระดับสูงจากบริษัทชั้นนำทั่วโลกเห็นว่าความเสี่ยงด้านซัพพลายเชน (Supply Chain Risk) เป็นความเสี่ยงลำดับต้นๆ ที่จะส่งผลต่อการเติบโตของบริษัทในช่วง 3 ปีข้างหน้า ดังนั้น บริษัทจำเป็นต้องวางแผนรับมืออย่างมีประสิทธิภาพ แต่จะทำอย่างไร?
วันที่: 6 สิงหาคม 2564
บทความโดย: ธิดารัตน์ ฉิมหลวง
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Management consulting
Future skills ทักษะแห่งอนาคตหลังยุคโควิด
ผลสำรวจของ WEF คาดว่า อัตราส่วนการจ้างงานระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรกลจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 67:33 ในปี 2563 เป็น 53:47 ในปี 2568 อีกทั้งในอนาคตองค์กรชั้นนำจะมีชั่วโมงการทำงานของเครื่องจักรกลมากกว่าชั่วโมงการทำงานของมนุษย์อย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องเร่งปรับตัว พัฒนาทักษะการทำงาน โดยเฉพาะการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ที่มีความสำคัญและสามารถนำไปใช้ในการทำงานในอนาคตได้
วันที่: 13 กรกฎาคม 2564
บทความโดย: มัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, People and Change Advisory
กลยุทธ์สร้างโอกาส ปรับธุรกิจด้วยเทคโนโลยี
การปรับตัวเพื่อดำเนินธุรกิจในยุค New Normal ไม่ใช่ทางเลือกอีกต่อไป แต่เป็นทางรอดขององค์กรที่ต้องปรับเปลี่ยน ถ่ายโอนและละเลิกรูปแบบเดิมๆ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อให้ธุรกิจสามารถฟันฝ่าอุปสรรคไปสู่เป้าหมายที่สำคัญกว่าวันนี้ แต่จะทำอย่างไรบทความนี้มีคำตอบ
วันที่: 23 มิถุนายน 2564
บทความโดย: ศิราภรณ์ จูฬเศรษฐ์ภักดี
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Management consulting, Technology
5 ความท้าทายที่ธุรกิจค้าปลีกต้องปรับตัวรับยุคดิจิทัลหลังโควิด-19
องค์กรไหนถ้าต้องการความได้เปรียบในการแข่งขันยุคหลังโควิด-19 องค์กรนั้นจำเป็นต้องสามารถเชื่อมต่อออนไลน์กับลูกค้า ซัพพลายเออร์ และพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความสะดวกสบายและกลมกลืน รวมถึงสามารถจัดการกับความท้าทาย ซึ่งมีหลัก 5 ประการด้วยกัน
วันที่: 8 มิถุนายน 2564
บทความโดย: ธนิต โอสถาเลิศ
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Consumer & Retail
ธุรกิจครอบครัวฝ่าวิกฤตโควิด-19: สร้างคุณค่าธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาลที่ดี
การเลือกที่จะมีธรรมาภิบาลที่ดีในธุรกิจครอบครัวเป็นส่วนผสมที่สำคัญสำหรับการเติบโตอย่างยั่งยืน ขณะที่ธรรมาภิบาลของธุรกิจเป็นสิ่งสำคัญสำหรับกระบวนการดำเนินธุรกิจ และเป็นเครื่องมือในการก่อตั้งกลไกในการควบคุมกระบวนการธรรมาภิบาลครอบครัว ซึ่งจะเป็นแนวทางพื้นฐานให้กับครอบครัวในการฝ่าฟันกับปัญหาหรือวิกฤตการณ์ใดๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ ไม่เพียงแค่วิกฤตการณ์โรคระบาดโควิด-19 ในครั้งนี้
วันที่: 30 เมษายน 2564
บทความโดย: ศศิธร พงศ์อดิศักดิ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Private Enterprise
จัดแผนธุรกิจอย่างไรให้ประสบความสำเร็จในปี 2564
การทำแผนธุรกิจที่บริษัทส่วนใหญ่จัดทำ คือ การให้นโยบายจากบนลงล่าง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง ด้วยเหตุนี้ผู้บริหารระดับถัดลงมาจึงมีข้อจำกัดในการเสนอความคิด สิ่งที่ผู้เขียนอยากให้ลองพิจารณา คือ ให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเสนอไอเดีย และหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีเป้าหมายร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนองค์กร ทำให้ได้มาซึ่งแผนธุรกิจที่เกิดจากการมีส่วนร่วม เพื่อนำองค์กรไปสู่เป้าหมายที่วางร่วมกัน
วันที่: 11 มีนาคม 2564
บทความโดย: ธเนศ เกษมศานติ์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Management consulting
ภาษีกับความท้าทายหลังยุคโควิด-19
วิกฤตโควิด-19 ซึ่งถือเป็นเรื่องใหม่ของทุกองค์กรและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงและกว้างขวาง วิกฤตครั้งนี้ถือเป็นตัวเร่งปฏิกริยาที่สำคัญที่ทำให้เกิดการนำแผนการสำหรับ Digital Transformation ที่เตรียมไว้มาใช้ปฏิบัติจริงได้อย่างรวดเร็ว เพื่อที่จะปรับตัวและรับมือกับผลกระทบของวิกฤตโควิด-19 ที่เกิดขึ้น รวมไปถึงเรื่อง Tax Ecosystem
วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2564
บทความโดย: อภิสิทธิ์ ปิ่นมณีกุล
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Tax
ปรับโครงสร้างกิจการอย่างไรในยุคเศรษฐกิจชะลอตัว
การปรับโครงสร้างกิจการไม่มีสูตรตายตัว จำเป็นต้องพิจารณาข้อเท็จจริงเป็นรายกรณี รวมถึงปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องข้อกฎหมายหรือเงื่อนไขทางธุรกิจ การปรับโครงสร้างกิจการอาจต้องใช้เวลาและมีค่าใช้จ่าย กิจการจึงต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ
วันที่: 15 มกราคม 2564
บทความโดย: เบญจมาศ กุลกัตติมาส
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Tax
2020
5 คำถามเชิงกลยุทธ์ที่ผู้บริหารต้องเตรียมตัวในปี 2564
ก่อนที่จะถึงปี 2564 ผู้บริหารควรจะต้องทบทวน ตั้งคำถามที่ท้าทาย รวมถึงมุมมองใหม่ด้านวัตถุประสงค์องค์กร โมเดลธุรกิจที่ทันสมัย การลงทุนในด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสม การสร้างระบบความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เพียงพอ การสร้างบุคลากรเพื่อตอบโจทย์ธุรกิจแห่งอนาคต เพื่อรองรับความท้าทายใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น
วันที่: 15 ธันวาคม 2563
บทความโดย: สุกิจ วงศ์ถาวราวัฒน์
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Advisory, Management consulting
แนวคิด ESG ทวีความสำคัญ หัวใจหลักกลยุทธ์ธุรกิจทั่วโลกหลังโควิด-19
จากผลกระทบของโควิด-19 ที่มีต่อสังคมและภาคธุรกิจที่กำลังเกิดขึ้นและในระยะยาว ผมเห็นว่านโยบายและการลงทุนด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) และบรรษัทภิบาล (Governance) หรือ ESG จะมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น และเป็นหัวใจหลักของกลยุทธ์ธุรกิจทั่วโลกหลังโควิด-19 ในบทความนี้ผมจะเล่าให้ฟังว่าเป็นเพราะอะไรครับ
วันที่: 17 พฤศจิกายน 2565
บทความโดย: เจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ
ที่มา: The Standard Wealth
บริการทีเกี่ยวข้อง: Climate Change and Sustainability Services